เปลี่ยนความรู้สึกแข็งทื่อให้เรียบเนียน
ศัลยกรรมเหลาฮัมพ์จมูก
แก้ไขฮัมพ์ เพื่อผลลัพธ์ที่ดีสุด
- #เลือกวิธีที่เหมาะสม
- #ศัลยกรรมจมูกในอุดมคติ
ศัลยกรรมเหลาฮัมพ์จมูกด้วยการผ่าตัดแบบผสมผสาน สิ่งสำคัญ คือ การเลือกวิธีที่เหมาะสมที่สุดจากหลากหลายวิธี
การผ่าตัดฮัมพ์จมูกไม่ใช่การผ่าตัดเพียงแค่แก้ไขส่วนที่นูนขึ้นมาเท่านั้น
แต่เป็นการผ่าตัดที่คำนึงถึงสาเหตุหลายประการ เช่น ขนาดกระดูกและต้นเหตุของฮัมพ์จมูก, ความกว้างของฐานกระดูกจมูก, ความสูงและรูปทรงของปลายจมูก เพื่อปรับการผ่าตัดให้เข้ากัน
ถ้าหากดำเนินการผ่าตัดโดยละเลยปัจจัยสำคัญเหล่านี้ หลังผ่าตัดสันจมูกอาจจะดูต่ำ, จมูกดูแบนและองศาของจมูกดูไม่เป็นธรรมชาติ และอาจก่อให้เกิดปัญหาอื่นได้
บาโนบากิดำเนินการผ่าตัดโดยการวินิจฉัยที่แม่นยำและทักษะความเชี่ยวชาญอันยาวนาน เพื่อไม่ให้เกิดฮัมพ์ขึ้นใหม่อีกครั้ง
อีกทั้ง ดำเนินการผ่าตัดแบบผสมผสาน เพื่อแสวงหาวิธีการผ่าตัดที่เหมาะสมที่สุด เช่น เสริมซิลิโคนหรือเนื้อเยื่อของตนเองเพื่อเพิ่มความสูงของสันจมูก หรือลดฐานจมูกหลังจากเหลาฮัมพ์ ให้สันจมูกเรียบเหมาะสมกับคนไข้แต่ละท่าน
-
แก้ไขและป้องกันการเกิดฮัมพ์ขึ้นอีกครั้ง ด้วยการวินิจฉัยอย่างละเอียดและวิธีการผ่าตัดที่เหมาะสม เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตรงตามอุดมคติ

POINT
การศัลยกรรมจมูก
-
+ ปรับแก้ไขฮัมพ์ที่ทำให้จมูกดูแข็งทื่อไม่เรียบให้สันจมูกสวยเรียบเนียน
-
+ แก้ไขปลายจมูกตกให้ดูสูงเด่น
-
+ แก้ไขรูปทรงด้วยการผ่าตัดแบบผสมผสาน
ข้อมูลการผ่าตัด
-
ระยะเวลาการผ่าตัด
ประมาณ 1 ชั่วโมง 30 นาที ~ 2 ชั่วโมง
-
วิธีวางยา
ยานอนหลับ/ยาชาเฉพาะที่
-
ตัดไหม
เอาออกประมาณ 5 วันหลังผ่าตัด
-
อุปกรณ์ที่ใช้ในการผ่าตัด
กระดูกก้นกบ, ซิลิโคน ฯลฯ
-
เช็คอัพ
ประมาณ 2 ครั้ง
-
พักฟื้น
ประมาณ 5~7 วันหลังทำ สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้ตามปกติ
ระดับอาการปวดหลังผ่าตัด
-
square
-
square
-
square
-
square
-
square
-
square
-
square
-
square
-
square
-
square
ใช้ยานอนหลับ/ยาชาในการผ่าตัด จึงไม่จำเป็นต้องกังวลเรื่องความเจ็บ
เมื่อยาชาเริ่มคลายตัวลง จะเกิดความรู้สึกเจ็บแปลบ หรือรู้สึกปวดเล็กน้อย ทำให้รู้สึกไม่สบายตัว
สำหรับท่านที่รู้สึกไม่สะดวกสบายมากๆ สามารถทานยาแก้ปวดปริมาณตามที่แพทย์แนะนำ
หากรู้สึกว่าบริเวณที่ผ่าตัดมีอุณหภูมิสูง การประคบเย็นจะช่วยบรรเทาได้
Rapid heling project ของเรา สามารถช่วยให้ระยะพักฟื้นสั้นลงได้
จนกว่าซิลิโคนจะอยู่ตัวดี ต้องหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ก่อให้เกิดการกระแทก
* เป็นค่าเฉลี่ยจากการทำแบบสอบถามหลังผ่าตัดของคนไข้ที่ได้เข้ารับการรักษาจริง
* ผลลัพธ์ที่ได้แตกต่างออกไปตามแต่ละบุคคล